อัตราเบี้ยประกันภัย พ.ร.บ.

กำหนดเป็นอัตราเบี้ยคงที่อัตราเดียว แยกตามประเภทรถ และลักษณะการใช้รถ บริษัทไม่สามารถคิดเบี้ยประกันภัยต่างจากที่นายทะเบียนกำหนด ดังนี้

อัตราเบี้ยประกันภัยคงที่ ไม่รวมภาษีอากร 
สำหรับการประกันภัยรถตาม พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535 
1.รถที่ขับเคลื่อนด้วยกำลังเครื่องยนต์

ลำดับ

ประเภทรถและขนาดเครื่องยนต์

การใช้รถยนต์

รหัส

ส่วนบุคคล 
(บาท/ปี)

รหัส

รับจ้าง/ให้เช่า/สาธารณะ
(บาท/ปี)

 

 

 

 

1.

รถจักรยานยนต์

1.30

 

2.30  3.30

 

 

1.1 ไม่เกิน 75 ซี.ซี.

 

150

 

150

 

1.2  เกิน 75 ซี.ซี.ไม่เกิน 125 ซี.ซี.

 

300

 

350

 

1.3 เกิน 125 ซี.ซี. ไม่เกิน 150 ซี.ซี.

 

400

 

400

 

1.4 เกิน 150 ซี.ซี.

 

600

 

600

2.

รถสามล้อเครื่อง

1.70

 

2.70  3.70

 

 

2.1 ในเขต กทม.

 

720

 

1,440

 

2.2 นอกเขต กทม.

 

400

 

400

3.

รถสกายแลป

1.71

400

2.71  3.71

400

4.

รถยนต์นั่งไม่เกิน 7 คน

1.10

600

2.10  3.10

1,900

5.

รถยนต์โดยสารเกิน 7 คน ขนาดที่นั่ง

1.20

 

2.20  3.20

 

 

5.1 ไม่เกิน 15 ที่นั่ง

 

1,100

 

2,320

 

5.2 เกิน 15 ที่นั่ง ไม่เกิน 20 ที่นั่ง

 

2,050

 

3,480

 

5.3 เกิน 20 ที่นั่ง ไม่เกิน 40 ที่นั่ง

 

3,200

 

6,660

 

5.4 เกิน 40 ที่นั่ง

 

3,740

 

7,520

 

รถยนต์โดยสารหมวด 4

 

 

 

 

 

(วิ่งระหว่างอำเภอกับอำเภอในจังหวัด)

 

 

 

 

 

5.5 ไม่เกิน 15 ที่นั่ง

 

-

 

1,580

 

5.6 เกิน 15 ที่นั่ง ไม่เกิน 20 ที่นั่ง

 

-

 

2,260

 

5.7 เกิน 20 ที่นั่ง ไม่เกิน 40 ที่นั่ง

 

-

 

3,810

 

5.8 เกิน 40 ที่นั่ง

 

-

 

4,630

6.

รถยนต์บรรทุก

1.40

 

2.40  3.40

 

 

6.1 น้ำหนัก ไม่เกิน 3 ตัน

 

900

 

1,760

 

6.2 น้ำหนัก เกิน 3 ตัน ไม่เกิน 6 ตัน

 

1,220

 

1,830

 

6.3 น้ำหนัก เกิน 6 ตัน ไม่เกิน 12 ตัน

 

1,310

 

1,980

 

6.4 น้ำหนัก เกิน 12 ตัน

 

1,700

 

2,530

7.

รถยนต์บรรทุกน้ำมันเชื้อเพลิง แก๊ส หรือกรด

1.42

 

2.42  3.42

 

 

ขนานน้ำหนักรวม

 

 

 

 

 

7.1 ไม่เกิน 12 ตัน

 

1,680

 

1,980

 

7.2 เกิน 12 ตัน

 

2,320

 

3,060

8.

หัวรถลากจูง

1.50

2,370

2.50  3.50

3,160

9.

รถพ่วง

1.60

600

2.60  3.60

  600

10.

รถยนต์ป้ายแดง(การค้ารถยนต์)

4.01

 

1,530

 

11.

รถยนต์ที่ใช้ในการเกษตร

4.06

 

     90

 

12.

รถยนต์ประเภทอื่นๆ

4.07

 

   770

 

 

 

2.รถที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า

ลำดับ

ประเภทรถและขนาดเครื่องยนต์

การใช้รถยนต์

รหัส

ส่วนบุคคล 
(บาท/ปี)

รหัส

รับจ้าง/ให้เช่า/สาธารณะ
(บาท/ปี)

 

 

 

 

1.

รถจักรยานยนต์

1.30E

300

2.30E  3.30E

350

2.

รถสามล้อ

1.70E

500

2.70E  3.70E

1,440

3.

รถยนต์นั่งไม่เกิน 7 คน

1.10E

600

2.10E  3.20E

1,900

หมายเหตุ : 1. รถที่จดทะเบียนในต่างประเทศและนำเข้ามาใช้ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวอัตราเบี้ยประกันภัย  ให้ใช้อัตราเบี้ยประกันภัย 
ระยะสั้นหรือไม่เต็มปีตามพิกัดอัตราเบี้ยประกันภัยรถยนต์  พ.ศ. 2548

ให้นำอัตราเบี้ยประกันภัยรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคลแยกตาม ซี. ซี. มาใช้กับรถจักรยานยนต์สามล้อดัดแปลงสำหรับคนพิการโดยอนุโลม

การประกันภัยรถยนต์

การประกันรถยนต์คืออะไร

การประกันภัยรถยนต์ คือการประกันความสูญเสียหรือเสียหายที่เกิดกับรถยนต์ รวมถึงความสูญเสียหรือเสียหายที่รถยนต์ก่อให้เกิดขึ้นแก่ชีวิตร่างกาย และ ทรัพย์สินของบุคคลภายนอก ตลอดจนบุคคลที่โดยสารอยู่ในรถยนต์นั้นด้วย โดยบริษัทประกันจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เอาประกันภัยเมื่อเกิดความ เสียหายขึ้นตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในกรมธรรม์

การประกันภัยรถยนต์มีกี่ประเภท
การประกันภัยรถยนต์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่

1) การประกันภัยรถยนต์ ภาคบังคับ
2) การประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ

Infomotion เรื่องการประกันภัยรถยนต์ ภาคบังคับ พ.ร.บ.

การประกันภัยรถภาคบังคับ

ประวัติความเป็นมา   อ่านต่อ
การประกันภัยรถภาคบังคับ   อ่านต่อ
สาระสำคัญการประกันภัยรถภาคบังคับ   อ่านต่อ
เหตุผลในการประกาศใช้กฎหมาย   อ่านต่อ
ประเภทรถที่ต้องทําประกันภัย พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ.2535   อ่านต่อ
ประเภทรถที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องทำประกันภัย พ.ร.บ.   อ่านต่อ
ผู้มีหน้าที่ต้องทำประกันภัย พ.ร. บ.   อ่านต่อ
ผู้ที่ได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.   อ่านต่อ
ผู้มีหน้าที่รับประกันตาม พ.ร.บ.   อ่านต่อ
อัตราเบี้ยประกันภัย พ.ร.บ.   อ่านต่อ
ความคุ้มครองเบื้องต้นตาม พ.ร.บ.   อ่านต่อ
ค่าเสียหายเบื้องต้นกรณีรถตั้งแต่ 2 คันขึ้นไปก่อให้เกิดความเสียหาย   อ่านต่อ
การใช้สิทธิขอรับค่าเสียหายเบื้องต้น   อ่านต่อ
ค่าสินไหมทดแทน (ส่วนเกินค่าเสียหายเบื้องต้น)   อ่านต่อ
การสำรองจ่ายค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทน ค่าชดเชยรายวัน และค่าปลงศพ   อ่านต่อ
กองทุนทดแทนผู้ประสบภัย   อ่านต่อ
กรณีรถไม่ทำประกันภัยไปก่อให้เกิดความเสียหายกับผู้ประสบภัย   อ่านต่อ
ระยะเวลาการใช้สิทธิขอรับค่าเสียหายเบื้องต้นตาม พ.ร.บ.   อ่านต่อ
บริษัท กลางคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ จำกัด   อ่านต่อ